พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค อัคคัญญสูตร http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_name.php?book=1&bookZ=45&name=อัคคัญญสูตร
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) คำว่า อัคคัญญสูตร http://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=อัคคัญญสูตร
อัคคัญญสูตร ชื่อสูตรที่ ๔ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก ทรงแสดงแก่สามเณรวาเสฏฐะ และสามเณรภารัทวาชะ ผู้ออกบวชจากตระกูลพราหมณ์ ทรงคัดค้านคำกล่าวอ้างของพวกพราหมณ์ ที่ถือว่าพราหมณ์เป็นวรรณะประเสริฐที่สุด และถือว่าชาติกำเนิดเป็นเครื่องตัดสินความประเสริฐและความต่ำทรามของมนุษย์ ทรงแสดงให้เห็นว่าความประเสริฐหรือต่ำทรามนั้นอยู่ที่ความประพฤติ โดยมีธรรมเป็นเครื่องตัดสิน คนวรรณะต่างๆ ออกบวชในพระพุทธศาสนาแล้ว ย่อมชื่อว่า เป็นผู้เกิดจากธรรมเสมอกันหมด แล้วทรงแสดงความเป็นมาของสังคมมนุษย์ เริ่มแต่เกิดมีสัตว์ขึ้นในโลกแล้วเปลี่ยนแปลงตามลำดับ จนเกิดมีมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่เป็นพวก เกิดความจำเป็นต้องมีการปกครอง และมีการประกอบอาชีพ การงานต่างๆ กัน วรรณะทั้งสี่ก็เกิดจากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ มิใช่เป็นเรื่องของพรหมสร้างสรรค์ แต่เกิดจากธรรม (ธรรมดา, กฎธรรมชาติ) ทุกวรรณะประพฤติชั่วก็ไปอบายได้ ปฏิบัติธรรมก็บรรลุนิพพานได้ ธรรมเป็นเครื่องตัดสิน และธรรมเป็นของประเสริฐสูงสุด ผู้ที่สิ้นอาสวกิเลสแล้ว เป็นผู้ประเสริฐสุดในวรรณะทั้งสี่ ผู้ที่สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุด ในบรรดาเทวะและมนุษย์ทั้งปวง
แนะนำ :- อ่าน และค้นพระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม สารบัญประเภทธรรม http://84000.org/tipitaka/dic/d_type_index.php?
หมวดหนังสือธรรมะ http://84000.org/tipitaka/book/
เรื่อง ศีลเป็นอาภรณ์อันประเสริฐ http://84000.org/tipitaka/book/bookpn02.html
เรื่อง สิ่งที่เป็นมงคล (มงคล ๓๘) http://84000.org/tipitaka/book/bookpn06.html
เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html เรื่อง ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก การใช้ทรัพย์ ๕ ประการ มหาทาน ทานของสัตบุรุษนัยที่ ๑ ทานของสัตบุรุษนัยที่ ๒ กาลทาน ๕ อย่าง ให้ทานในที่ใดมีผลมาก ทานที่เจาะจงและไม่เจาะจง ๒๑ ประเภท สังฆทาน ๗ ประเภท ถวายภิกษุรูปเดียว ก็เป็นสังฆทาน ทัททัลลวิมาน-แสดงอานิสงส์ของสังฆทาน เรื่องเศรษฐีเท้าแมว ความบริสุทธิ์แห่งทักษณาทาน ๔ อานิสงส์ของทาน ๕ อย่าง ทานที่มีผลมาก ไม่มีอานิสงส์มาก ๖ ทานที่มีผลมาก มีอานิสงส์มาก ๑ http://84000.org/tipitaka/book/bookpn01.html
แก้ไขเมื่อ 28 ส.ค. 48 13:08:26
จากคุณ :
ฐานาฐานะ
- [
วันแม่แห่งชาติ 06:35:47
]
|
|
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น